ความผิดพลาดเวลาซื้อกองทุน

สวัสดีคร้าบ วันนี้กลับมาพบกับผม หมอนัท คนดี คนเดิม ที่เพิ่มเติมคือ “บทความใหม่” คราวนี้มาพบกับทบความแบบสบาย ๆ ง่าย ๆ แต่ผมมองว่าเป็นสิ่งที่ไม่ควรจะมองข้าม และคนส่วนใหญ่มีปัญหากับเรื่องนี้ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะมือใหม่

jumbo jili

ส่วนมือเก๋า บางปัญหาที่ผมจะเขียนต่อไปนี้ ก็ยังมีบางคนที่ยังคงเป็นอยู่ หรือบางครั้งอาจจะไม่รู้ตัวก็ได้ครับ ก็เลยถือโอกาสออกบทความ ทบทวนกันสักนิดเพื่อให้ใครหลายๆ คนได้ทราบถึงแนวทาง แนวคิดการลงทุนที่ถูกต้องมากขึ้นครับ
แต่ความผิดพลาดเหล่านี้ ไม่ได้เกิดจากความเข้าใจผิด จากความไม่เข้าใจในประเภท หรือ องค์ประกอบของกองทุน เช่น NAV หรือ การปันผลของกองทุน ซึ่งคราวนี้ เป็นปัญหาที่เราพบได้บ่อย ๆ กับการลงทุนในกองทุนรวมของนักลงทุนเองที่ซื้อกองทุนรวมแบบไม่มีวินัย และคนส่วนใหญ่มักจะมองข้ามไปก็คือ

  1. ซื้อกองทุนที่ไม่เหมาะกับตนเอง
    ปัญหานี้ ผมมักจะพบได้ในช่วง 2-3 ปีมานี่เอง เนื่องจากเป็นช่วงที่กองทุนต่างประเทศ กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งนักลงทุนส่วนใหญ่ก็จะลงทุนตามคำบอก หรือ คำแนะนำของ บลจ. ที่ออกกองทุน และมักจะลืมไปว่า ความเสี่ยงของกองทุนที่เราจะลงทุนนั้น สูง ขนาดไหน หรือ มีสไตล์การลงทุนที่เหมาะกับ แนวคิด หรือ นิสัยการลงทุนของเราหรือไม่ครับ

สล็อต

ทั้งนี้ก็เพราะว่า ความโลภ เข้าบังตา บังใจอยู่นั่นเองครับ(55+) เนื่องจากกองทุนเหล่านี้ มีผลตอบแทนย้อนหลังที่ดูดี และก็ยังมีความน่าสนใจจากแนวโน้มของการเติบโตในบางอุตสาหกรรม หรือ บางประเทศด้วย(ซึ่งจริง หรือไม่จริง ก็ไม่รู้) หรือ บางคนก็ลงทุนเพราะว่า ความเท่ห์ เพราะว่าใคร ๆ ก็ออกไปลงทุนในต่างประเทศทั้งนั้น (ไม่ไป ไม่ลงทุนก็เหมือนจะตกเทรนด์)

ซึ่งผมไม่ได้บอกว่าจะลงทุนไม่ได้ เพียงแต่เราต้องเลือกกองทุนที่เหมาะสมกับตัวเราด้วย

แนวคิด และวิธีการแก้ไข

หากองทุนที่เหมาะสมกับเรา ซึ่งคำว่า “เหมาะสม” นั้นหมายถึง

1.1 เข้าใจสไตล์การลงทุนของกองทุนนั้นว่า มีการลงทุนแบบไหน เช่น ซื้อแล้วถือยาว หรือ มีกระบวนการเลือกหุ้น หรือ สินทรัพย์อื่น ๆ เข้ามาอยู่ในกองทุนอย่างไร ถูกใจ หรือ โดนใจเราหรือว่าไม่

1.2 ความเสี่ยงไม่สูงมากเกินไปกว่าที่เราจะรับได้ ยกตัวอย่างเช่น กองทุน Healthcare ที่มีความเสี่ยงสูง แต่นักลงทุนมักจะเข้าใจว่าเป็นการลงทุนในหุ้นกลุ่ม Defensive ซึ่งไม่ใช่เลย เนื่องจาก Healthcare ในต่างประเทศ ไม่ได้หมายถึงกองทุนที่ลงทุนในหุ้นกลุ่ม โรงพยาบาลเพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงการลงทุนในบริษัทยา หรือ บริษัทที่ผลิต วัคซีน รวมถึงกลุ่ม Biotechnology ที่มีความเสี่ยงสูงครับ

สล็อตออนไลน์

4 ความผิดพลาด เวลาซื้อ “กองทุน”
by Dr. Nut,May 23, 2016 10:50 PM
writer of Docternut
Share on Facebook
HIGHLIGHTS
ซื้อกองทุนที่ไม่เหมาะสมกับตนเอง
ซื้อกองทุนมากเกินไป
เพิ่มเงินลงทุนมากขึ้นตอนที่กองทุนมีกำไร
ชอบซื้อกองทุนออกใหม่
สวัสดีคร้าบ วันนี้กลับมาพบกับผม หมอนัท คนดี คนเดิม ที่เพิ่มเติมคือ “บทความใหม่” คราวนี้มาพบกับทบความแบบสบาย ๆ ง่าย ๆ แต่ผมมองว่าเป็นสิ่งที่ไม่ควรจะมองข้าม และคนส่วนใหญ่มีปัญหากับเรื่องนี้ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะมือใหม่
ส่วนมือเก๋า บางปัญหาที่ผมจะเขียนต่อไปนี้ ก็ยังมีบางคนที่ยังคงเป็นอยู่ หรือบางครั้งอาจจะไม่รู้ตัวก็ได้ครับ ก็เลยถือโอกาสออกบทความ ทบทวนกันสักนิดเพื่อให้ใครหลายๆ คนได้ทราบถึงแนวทาง แนวคิดการลงทุนที่ถูกต้องมากขึ้นครับ
แต่ความผิดพลาดเหล่านี้ ไม่ได้เกิดจากความเข้าใจผิด จากความไม่เข้าใจในประเภท หรือ องค์ประกอบของกองทุน เช่น NAV หรือ การปันผลของกองทุน ซึ่งคราวนี้ เป็นปัญหาที่เราพบได้บ่อย ๆ กับการลงทุนในกองทุนรวมของนักลงทุนเองที่ซื้อกองทุนรวมแบบไม่มีวินัย และคนส่วนใหญ่มักจะมองข้ามไปก็คือ

jumboslot

  1. ซื้อกองทุนที่ไม่เหมาะกับตนเอง
    ปัญหานี้ ผมมักจะพบได้ในช่วง 2-3 ปีมานี่เอง เนื่องจากเป็นช่วงที่กองทุนต่างประเทศ กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งนักลงทุนส่วนใหญ่ก็จะลงทุนตามคำบอก หรือ คำแนะนำของ บลจ. ที่ออกกองทุน และมักจะลืมไปว่า ความเสี่ยงของกองทุนที่เราจะลงทุนนั้น สูง ขนาดไหน หรือ มีสไตล์การลงทุนที่เหมาะกับ แนวคิด หรือ นิสัยการลงทุนของเราหรือไม่ครับ

ทั้งนี้ก็เพราะว่า ความโลภ เข้าบังตา บังใจอยู่นั่นเองครับ(55+) เนื่องจากกองทุนเหล่านี้ มีผลตอบแทนย้อนหลังที่ดูดี และก็ยังมีความน่าสนใจจากแนวโน้มของการเติบโตในบางอุตสาหกรรม หรือ บางประเทศด้วย(ซึ่งจริง หรือไม่จริง ก็ไม่รู้) หรือ บางคนก็ลงทุนเพราะว่า ความเท่ห์ เพราะว่าใคร ๆ ก็ออกไปลงทุนในต่างประเทศทั้งนั้น (ไม่ไป ไม่ลงทุนก็เหมือนจะตกเทรนด์)

ซึ่งผมไม่ได้บอกว่าจะลงทุนไม่ได้ เพียงแต่เราต้องเลือกกองทุนที่เหมาะสมกับตัวเราด้วย

แนวคิด และวิธีการแก้ไข

หากองทุนที่เหมาะสมกับเรา ซึ่งคำว่า “เหมาะสม” นั้นหมายถึง

1.1 เข้าใจสไตล์การลงทุนของกองทุนนั้นว่า มีการลงทุนแบบไหน เช่น ซื้อแล้วถือยาว หรือ มีกระบวนการเลือกหุ้น หรือ สินทรัพย์อื่น ๆ เข้ามาอยู่ในกองทุนอย่างไร ถูกใจ หรือ โดนใจเราหรือว่าไม่

1.2 ความเสี่ยงไม่สูงมากเกินไปกว่าที่เราจะรับได้ ยกตัวอย่างเช่น กองทุน Healthcare ที่มีความเสี่ยงสูง แต่นักลงทุนมักจะเข้าใจว่าเป็นการลงทุนในหุ้นกลุ่ม Defensive ซึ่งไม่ใช่เลย เนื่องจาก Healthcare ในต่างประเทศ ไม่ได้หมายถึงกองทุนที่ลงทุนในหุ้นกลุ่ม โรงพยาบาลเพียงอย่างเดียว แต่หมายถึงการลงทุนในบริษัทยา หรือ บริษัทที่ผลิต วัคซีน รวมถึงกลุ่ม Biotechnology ที่มีความเสี่ยงสูงครับ

4 ความผิดพลาด เวลาซื้อ “กองทุน”

slot

  1. ซื้อกองทุนมากเกินไป
    ณ FB คลินิกกองทุน

นาย B: พี่หมอครับ ผมมีปัญหากองทุนมาถามครับ

หมอนัท : ครับ

นาย B : ผมมีกองทุนอยู่ 20 กองทุนครับ ผมสนใจจะซื้อเพิ่ม ไม่รู้ว่ามีกองทุนไหนที่น่าสนใจบางไหมครับช่วงนี้ รบกวนหน่อยนะครับ ส่วนกองทุน AAA ผมขาดทุนอยู่ทำไงดี และกองทุน BBB กำลังขึ้นมาขายได้ไหมครับ กองทุน CCC ก็ดีนะครับ แต่ทำไมช่วงนี้ผันผวนจัง……….etc….. จนถึงกองทุนที่ 20

หมอนัท : อ่อ…น้องครับ นี่จะเล่มเกมส์ 20 คำถามกับพี่เหรอ …(พยายามสงบใจ) น้องขายเหอะครับเชื่อพี่ เอาให้เหลือ 3-4 กองทุนก็พอแล้วนะครับ…..หรือไม่ก็ไปซื้อกองทุนดัชนี หรือ passive fund น่าจะดีกว่าครับ

นาย B : อ่อ… ขอบคุณครับ

(จากนั้นผมก็ไม่เห็นน้องคนนี้มาถามอีกเลย)

นี่ไม่ใช่เรื่องพูดเล่นนะครับ อันนี้เป็นเรื่อง ผมเชื่อว่าหลายคนรักพี่เสียดายน้อง กองทุนประเภทเดียวกัน เช่นกองทุนหุ้น ก็มีหลายกองทุน กองทุนตราสารหนี้ก็มีหลายกองทุน เพราะว่าใคร ๆ ก็บอกว่ากองทุนนั้นดี กองทุนนี้ดี และเราก็ลงทุนโดยกลัวที่จะเสียโอกาส ซึ่ง ไม่ใช่หลักการลงทุนที่ดีเลย

ลองนึกดูง่าย ๆ นะครับ อย่างกองทุนหุ้นเอง บางกองทุนก็ไปลงทุนในหุ้นตัวเดียวกัน ยิ่งเราซื้อกองทุนมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีโอกาสซ้ำกันเท่านั้นครับ เช่นกองทุนAA อาจจะมีหุ้น 30 ตัว ซึ่งซ้ำกับกองทุน BB ประมาณ 10 ตัว เรามีกองทุนแบบนี้มากขึ้น 5 กองทุน หุ้นที่อยู่ในกองทุนก็ซ้ำกันเกิน 30 กองทุนแล้วครับ ซึ่งถ้าพิจารณาดี ๆ เราไปลงทุนในกองทุน SET50 หรือ กองทุนแบบ Passive Fund อาจจะได้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมแพง ๆ นั่นเองครับ

แนวคิด และวิธีการแก้ไข

เลือกองทุนที่ดี ที่เราชอบมาเพียง 2 กองทุนต่อประเภทกองทุน ก็เพียงพอแล้ว เช่นกองทุนหุ้น 2 กองทุน กองทุนตราสารหนี้ 2 กองทุน ซึ่งถ้าจะให้กระจายความเสี่ยงมากขึ้น ก็ให้เราเลือกกองทุนที่มีสไตล์การลงทุนที่แตกต่างกัน เช่นกองทุนนึงเน้น Buy and Hold อีกกองทุนเน้นการซื้อ-ขาย เป็นต้น

ไลฟ์สไตล์ต้องห้าม ถ้าอยากสบายยามแก่

เราทุกคนล้วนมีความคาดหวังและความฝันที่จะมีชีวิตที่มั่นคงในวัยเกษียณ แต่ถ้าคุณได้แต่หวังแล้ว ไม่มีการวางแผนและไม่ลงมือทำ ฝันของคุณคงไม่มีทางเป็นจริงไปมิได้แน่นอน เพราะในชีวิตประจำวันเราต่างก็มีความรับผิดชอบและพฤติกรรมในการจับจ่ายใช้สอยที่แตกต่างกันออกไป พบกับบทความจาก www.kapook.com ทีจะเป็นแนวทางให้คุณได้ลองเช็คดูว่า ในแต่ละเดือนคุณหมดเงินไปกับพฤติกรรมอะไรบ้าง

jumbo jili

  1. ติดหวย

หลายคนฝากความหวังไว้กับหวยทั้งบนดินและใต้ดิน เพียงหวังว่าสักวันหนึ่งจะต้องเป็นของเรา แต่รู้ไหมว่า 80-100 บาทที่เสียไป โอกาสในการถูกรางวัลน้อย หากลองคิดดู คุณเคยถูกหวยกี่ครั้ง ครั้งละกี่บาท แล้วคำนวณดูซิ ว่าระหว่างที่คุณลงทุนไป กับผลตอบแทนที่ได้มาคุ้มมั้ย !!!

  1. ติดบุหรี่-เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

รู้ไหม การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และสูบบุหรี่ ถ้าลองคำนวณเงินที่ลงไปกับการรินเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ลงแก้ว และการเผาบุหรี่ไปนับว่าเป็นเงินหลายบาท โดยมีงานวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) และศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) มหาวิทยาลัยมหิดล ระบุว่า คนไทยมีค่าใช้จ่ายในการซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ย 839-1,539 บาท/เดือน ขณะที่มีค่าใช้จ่ายในการซื้อผลิตภัณฑ์ยาสูบเฉลี่ย 546 บาท/เดือน คำนวณดูแล้วหมดเงินไปปีละเป็นหมื่น ลองคิดดูซิ นอกจากคุณเสียเงินโดยเปล่าประโยชน์แล้ว คุณยังเสียสุขภาพอีกด้วย

สล็อต

  1. ติดเพื่อน-สังคม

คนส่วนใหญ่ ไม่ว่าจะเทศกาลไหนก็ต้องจัดปาร์ตี้สังสรรค์ ถ้าหากคุณใช้ชีวิตแบบนี้ คงไม่มีเงินเก็บแน่นอน ฉะนั้นหากอยากมีเงินเก็บ งดปาร์ตี้บ้างก็ดี หรือนาน ๆ ทีค่อยสังสรรค์ก็ได้

  1. ติดช้อป

ไม่ว่าจะเป็นของจำเป็นใช้หรือไม่จำเป็นต้องใช้ หากขยันซื้อ ชอบจ่าย เป็นสายเปย์ เงินที่ถืออยู่จะหมดไปกับการจับจ่ายใช้สอยของเรา และบางคนอาจใช้เงินจนเกินตัว เงินสดไม่พอก็รูดบัตรเครดิตให้เป็นภาระหนี้ในเดือนถัดไปอีกต่างหาก ถ้าไม่ประหยัดเงินไว้บ้างมีหวังชีวิตลำบากตอนแก่แน่ ๆ

สล็อตออนไลน์

  1. ติดแฟชั่น

เวลาไปเดินตลาดนัดทีไร พอเห็นเสื้อผ้า รองเท้า สินค้าแฟชั่นใหม่ ๆ วางขายสลับสับเปลี่ยนแบบไปทุกซีซั่นก็เผลอควักเงินออกจากกระเป๋าทุกที ทั้งที่เสื้อผ้าดี ๆ ก็ยังมีอยู่เต็มตู้ หรือบางคนพอไปเดินห้างสรรพสินค้า เห็นโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่มีฟีเจอร์เด็ดโดนใจ ก็รีบเอาเครื่องเก่าไปขายมือสองแบบไม่ต้องคิดแล้วซื้อเครื่องใหม่แทน ตามแฟชั่นขนาดนี้ จะมีเงินเก็บก็คงยากล่ะว่าไหม ?

  1. ติดการผ่อน

สมัยนี้บัตรกดเงินสด บัตรเครดิตทำง่าย สร้างโอกาสในการเป็นหนี้เพิ่มมากขึ้น ยิ่งมีโปรโมชั่น ได้สิทธิพิเศษให้ผ่อนชำระ 0% นาน 10 เดือน ยิ่งทำให้การตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น เพราะคิดว่าผ่อนเดือนละไม่กี่บาท แต่รู้ไหมว่าถ้าซื้อเงินผ่อนจนเพลิน รวมกันหลายชิ้นก็ตกหลายพันบาท แล้วถ้าเลือกจ่ายบัตรเครดิตแบบขั้นต่ำ หรือ 10% ของยอดค้างชำระ หายนะจากดอกเบี้ยทบต้นจะทำให้คุณเป็นหนี้ก้อนโตอย่างคาดไม่ถึงเลย

jumboslot

  1. ติดสบาย

ทำงานได้เงินมาก ก็ให้รางวัลความเหนื่อยโดยการใช้จ่ายมากจนลืมที่จะแบ่งเงินที่ได้มาเก็บออมเอาไว้ใช้ยามเกษียณ เมื่อคุณอายุ 60 ปี ไม่มีงาน ไม่มีเงิน คุณจะกิน จะใช้อย่างไร จะเอาเงินที่ไหนมาใช้จ่ายกันล่ะ

ถ้าลด ละ เลิก ไลฟ์สไตล์เหล่านี้ได้ เชื่อว่าทุกคนจะเหลือเงินมาเก็บออมได้แน่ ๆ ค่ะ แต่ถ้าหากคิดว่าตัวเองเก็บเงินไม่อยู่จริง ๆ ลองใช้วิธีฝากเงินไว้กับธนาคาร หรือออมเงินกับกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) ซึ่งจะได้รับเงินสมทบจากรัฐบาลสูงสุด 100% เริ่มออมง่าย ๆ ขั้นต่ำแค่ 50 บาท สะสมไปเรื่อย ๆ ก็จะได้มีบำนาญช่วยให้ชีวิตสบายในบั้นปลาย ไม่ต้องลำบากยามชราด้วยนะคะ

slot

เมื่อถึง “เทศกาลวันแห่งความรัก” บรรดาหนุ่มๆ สาวๆ ก็เริ่มที่จะตระเตรียมของขวัญฝากรักแทนใจเพื่อให้คนสำคัญ ได้ประทับใจมิรู้ลืม คุณยังนึกไม่ออกว่าปีนี้จะหาของขวัญอะไรดีน๊า ให้กับคนสำคัญของคุณ ลองอ่านบทความจาก www.kapook.com ที่จะมาแนะนำของขวัญที่สุดพิเศษ และยังช่วยให้เงินในกระเป๋าของคุณเพิ่มขึ้นอีกด้วย

อบอวลไปด้วย ความรัก ความสุข ความสดใสของหนุ่ม ๆ สาว ๆ ต่างพากันมองหาและมอบของขวัญแทนใจให้แก่กันและกัน ซึ่งไม่ว่าจะเป็นช็อกโกแลต ตุ๊กตา เสื้อผ้า เครื่องประดับ ล้วนแต่ทำให้เงินในกระเป๋าของคุณลดลงทั้งน้านนนนน

สำหรับวาเลนไทน์ปีนี้ ใครที่ยังมองหาของขวัญให้กับคนรักแล้วละก็ เปลี่ยนเงินที่จับจ่ายซื้อของขวัญ มาเป็นตัวเงินที่เพิ่มขึ้นจากการออมกันดีกว่า ลองมองหาของขวัญวันวาเลนไทน์ที่ผู้รับสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง สร้างความสุข ความประทับใจไปยาว ๆ อย่างเช่น การเปิดบัญชีเงินฝากประจำให้เป็นของขวัญ ซื้อกองทุนรวม ซื้อสลากออมทรัพย์ในชื่อคนรัก